5. หลักการเรียนรู้
หลักการเรียนรู้
การเรียนการสอนเป็นการทำให้ผู้เรียนมีความตั้งใจต่อภาระงานเป็นการจูงใจผู้เรียนด้วยการอธิบายประโยชน์ของตามจุดประสงค์ แปลโยงความสัมพันธ์ของการเรียนรู้ใหม่ๆเข้ากันจากการเรียนรู้เดิมการจัด การนำเสนอนี้จะมูกให้เห็นเหตุการณ์และระหว่างมีการนำสารสนเทศเข้ามาก็ผ่านสิ่งมโนทัศน์หลักการหรือวิธีการไปสู่นักเรียนข้อกำหนดของการนำเสนอจะมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับแบบของการเรียนรู้ที่จะประสบผลสำเร็จและระดมพฤติกรรมความพร้อมที่จะรับการสอนของผู้เรียน
การแนะนำบทเรียน
การแนะนำบทเรียนเป็นกิจกรรมเริ่มแรกของกระบวนการเรียนการสอนคือทำให้ผู้ตั้งใจเรียนและผู้เรียนเตรียมพร้อมไปสู่การปฏิบัติในการแนะนำบทเรียนควรอธิบายจุดประสงค์ของการเรียนการสอน
การนำเสนอเนื้อหาใหม่
เมื่อมีการเรียนรู้ใหม่บทเรียนควรนำเสนอข้อความจริงมโนทัศน์และกรดหรือพรรณนาสาธิตทักษะการนำเสนอเนื้อหาใหม่ๆ ให้จดจำได้ง่ายควรนำเสนออย่างมีลำดับมีแบบของโครงสร้างจะทำให้มีความหมายต่อผู้เรียนการจัดสานสนเทศแทรกซ้อนไม่เป็นที่ต้องการและกระจัดเนื้อหาที่สับสนออกไปไม่เกี่ยวข้องออกไปจากการเรียน
การฝึกปฏิบัติ
การฝึกปฏิบัติการเรียนรู้เป็นกระบวนการการตื่นตัวและมีประสิทธิภาพมากเมื่อผู้เรียนได้มีการผลิตมีการปฏิบัติหรือมีการพยายามใช้มือกับภาระการงานที่ได้เรียนรู้การฝึกปฏิบัติเป็นส่วนผสมที่สำคัญที่สุดของการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและช่วยเร่งการเรียนรู้ช่วยให้จดจำได้นานและให้ความสะดวกในการระลึกได้
การปฏิบัติที่เปิดเผยหรือไม่เปิดเผย
การปฏิบัติอาจเป็นได้ทั้งการตรวจตอบสนองอย่างเปิดเผยและไม่เปิดเผยการตอบสนองแบบเปิดเผยเช่นการเขียนคำตอบการแสดงวิธีการการกล่าวคำหรือวลีซึ่งเป็นสิ่งที่สังเกตได้ส่วนการตอบสนองได้เปิดเผยเช่นการคิดคำตอบการปฏิบัติทางสมองสมองเกี่ยวกับโซ่ของคำพูดที่จะออกมาเป็นคำบรรยายหรือท่องปักษ์ใต้หรือความเงียบในการเลือกคำตอบที่ถูกต้องจากการเลือกต่างๆขบวนการเหล่านี้ซึ่งสังเกตไม่ได้
ตารางการฝึกปฏิบัติโดยทั่วไปอย่างผู้เรียนมีโอกาสตอบสนองมากเท่าไรการเรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นเท่านั้นโอกาสในการฝึกปฏิบัติไม่ควรจะมากในช่วงเวลาเดียวการท่องหนังสือเพียงการสอบเป็นตัวอย่างการปฏิบัติที่มีมากในครั้งเดียวการทอดหนังสือหรืออาจให้ผลในการทำงานแบบทดสอบได้คะแนนสูงแต่อาจลืมเนื้อหาวิชาได้อย่างรวดเร็วในการที่จะคงทนความจำในเนื้อหาวิชาไว้นานควรฝึกปฏิบัติควรกระจ่างไปตามช่วงเวลานั้นทั้งหมดและมีช่วงเวลาการพัก ระหว่างช่วงด้วย จำเป็นสำหรับการเรียนรู้เรื่องยาวๆและจำเป็นสำหรับภาระงานและทักษะที่ยาก
การปฏิบัติเชิงเปลี่ยนแปลง
เป็นสะพานข้ามช่องระหว่าง พฤติกรรมระดับความพร้อมที่จะรับการสอนและการปฏิบัติตามเกณฑ์หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็นการเรียนรู้ที่เพิ่มจากระดับความพร้อมที่จะรับการสอนไปถึงเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติให้ได้เป็นความตั้งใจที่จะจัดเตรียมผู้เรียนล่วงหน้าในการเรียนรู้ด้วยสถานการณ์ ที่ผู้เรียนสามารถจะรับได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น